คำพิพากษาฎีกาน่ารู้
คำพิพากษาฎีกาประเด็นสำคัญ ที่มักเกิดข้อพิพาททางกฎหมายในปัจจุบัน
นายจ้างปิดกิจการชั่วคราวต้องจ่ายค่าจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของค่าจ้างปกติ
คำพิพากษาฎีกาที่ 6960/2548นายจ้างจะใช้สิทธิปิดกิจการชั่วคราวและจ่ายเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของค่าจ้างปกติได้ต่อเมื่อมีความจำเป็นต้องหยุดกิจการเสียก่อน ความจำเป็นที่ยกขึ้นเป็นเหตุปิดกิจการชั่วคราวจะต้องเป็นความจำเป็นอย่างสำคัญที่มีผลต่อการประกอบกิจการของนายจ้าง จนนายจ้างไม่สามารถประกอบกิจการได้ตามปกติ มิใช่เหตุจำเป็นเล็กๆน้อยๆเท่านั้น...
Read Moreการพิจารณาจากรายการสินค้าว่ามีลักษณะเหมือนกัน หรือคล้ายกัน
คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการเครื่องหมายการค้าที่ 732/2551 คณะกรรมการได้พิจารณาอุทธรณ์โดยเปรียบเทียบเครื่องหมายการค้าของผู้อุทธรณ์คำว่า PREMIERE กับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่จดทะเบียนไว้คำว่า PREMIER เห็นว่า...
Read Moreความเข้าใจในการแยกประเภทสินค้าของกลุ่มผู้บริโภค
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2767/2559 แม้เครื่องหมายการค้าทั้งสองจะจดทะเบียนใช้กับสินค้าจำพวกเดียวกัน คือ จำพวกที่ 5 แต่รายการสินค้าที่จดทะเบียนนั้นแตกต่างกัน...
Read Moreเครื่องหมายการค้าที่มีตัวอักษรประกอบที่ต่างกัน หรือเครื่องหมายการค้าที่มีเสียงเรียกขานแตกต่างกัน ไม่อาจทำให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของหรือแหล่งกำเนิดของสินค้าได้
คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการเครื่องหมายการค้าที่ 1015/2551 คณะกรรมการได้พิจารณาอุทธรณ์เห็นว่า เครื่องหมายการค้าของผู้อุทธรณ์คำว่า BUCKAROO แม้เป็นคำสามพยางค์เช่นเดียวกันกับเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนทะเบียนคำว่า BUGABOO...
Read Moreเจ้าหนี้เรียกดอกเบี้ยผิดนัดได้สูงกว่าที่กฎหมายกำหนด
กฎหมายยอมให้ตกลงดอกเบี้ยกันได้ตามหลักเสรีภาพในการทำสัญญากับอิสระทางแพ่ง ดังนั้น ถ้าเจ้าหนี้เรียกดอกเบี้ยผิดนัดได้สูงกว่าที่กฎหมายกำหนดโดยอาศัยเหตุอันชอบด้วยกฎหมายก็ให้คงส่งดอกเบี้ยต่อไปตามที่ตกลงกันในสัญญา ดังนั้นถ้าข้อตกลงมีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยผิดนัดเอาไว้ มาตรา 224 ก็จะไม่มีผลบังคับใช้...
Read Moreการยอมชำระดอกเบี้ยเกินอัตรา เป็นการชำระหนี้ตามอำเภอใจ เอาไปหักเงินต้นได้
เดิมศาลฎีกาเคยตัดสินว่า ถือเป็นการชำระหนี้ตามอำเภอใจ คำพิพากษาศาลฎีกาที่101/2544 วินิจฉัยว่าการที่จำเลยสมยอมชำระดอกเบี้ยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้แก่โจทก์ ถือได้ว่าเป็นการชำระหนี้ตามอำเภอใจโดยรู้ว่าตนไม่มีความผูกพันที่จะต้องชำระ ตาม ป.พ.พ.มาตรา...
Read More